Japon
Le Japon (en japonais 日本国, Nihonkoku ou Nipponkoku, le plus souvent abrégé en 日本, Nihon ou Nippon) est un pays insulaire de l'est de l'Asie.
C'est la deuxième puissance économique du monde.
日本 signifie « origine du Soleil » (日 = jour ou Soleil, 本 = racine ou origine - pour
évoquer le soleil levant). On utilise parfois la périphrase « empire du Soleil levant »
pour désigner le pays. Le prince Shōtoku (聖徳太子, 574-622) s’était servi de cette
expression dans une lettre envoyée à l’empereur de Chine (Cf. Noms du Japon).
Présentation
Le Japon est un archipel volcanique situé entre l’océan Pacifique, la mer du Japon et la mer de Chine orientale, à l’est de la péninsule coréenne à la croisée de plusieurs plaques tectoniques sources de nombreux séismes. L’archipel japonais est composé de quatre îles principales, Honshū, Hokkaidō, Kyūshū, et Shikoku, ainsi que de milliers de petites îles, appartenant notamment à la préfecture d'Okinawa. Hokkaidō, historiquement peuplée par les Aïnus (ou Aïnous), fut incorporée progressivement à l’ère de peuplement japonais, processus qui s’acheva avec l’époque Meiji. Les migrants s’installèrent dans la plaine du Yamato et formèrent plus tard les premiers artisans de la culture japonaise, alors que les peuples originels furent cantonnés au nord de Honshū et sur l’île de Hokkaidō.
Le nom japonais Nippon est utilisé sur les timbres et pour les événements sportifs internationaux, alors que Nihon est utilisé plus fréquemment au Japon même. Nippon réfère aussi à l’empire japonais et à une certaine idéologie. Yamato (大和) est le nom que l'on donne à l'ancienne période de la déesse du Soleil « Amaterasu » (qui selon la mythologie ayant cours avant la capitulation en 1945, aurait créé le Japon). C’est à l’origine le nom de la première structure impériale connue qui exerçait son pouvoir autour de Nara (奈良) aux environs du Ve siècle. Aujourd’hui, on trouve toujours le mot Yamato dans des expressions telles que Yamatodamashii (大和魂, « l’esprit japonais »).
Histoire
La légende prétend que le Japon fut fondé au VIIesiècle av. J.-C. par l’empereur Jimmu. Le système d’écriture chinois et le bouddhisme furent introduits durant les Ve et VIe siècles, initiant une longue période d’influence culturelle chinoise. Les empereurs étaient les dirigeants symboliques, alors que le véritable pouvoir était le plus souvent tenu par les puissants nobles de la Cour, régents ou shogun (général en chef des armées).
À partir du XVIe siècle, des commerçants venus du Portugal, d’Espagne, des Pays-Bas et d’Angleterre débarquèrent au Japon avec des missionnaires chrétiens. Pendant la première partie du XVIIe siècle, le shogunat craignit que ces missionnaires fussent la source de périls analogues à ceux que subirent ses voisins (telles les prémices d’une conquête militaire par les puissances européennes ou un anéantissement total pareil à celui que subit le royaume tibétain de Gugé en 1630 suite à l'accueil bienveillant de missionnaires chrétiens par son roi, accueil provoquant l'invasion du Ladakh par son voisin rival, qui profita de l'agitation engendrée par la colère des autorités bouddhistes contre la menace de la perte de leur monopole religieux et de leur influence); aussi la religion chrétienne fut formellement interdite en 1635 sous peine de mort sous la torture. Puis, en 1639, le Japon cessa toute relation avec l’étranger, à l'exception de certains contacts restreints avec des marchands chinois et hollandais à Nagasaki (長崎), précisément sur l’île de Dejima (出島). Cet isolement volontaire dura jusqu’à ce que les États-Unis, avec le commodore Matthew Perry, forcent le Japon à s’ouvrir à l’Occident par la politique de la canonnière en signant la Convention de Kanagawa en 1854 après son pilonnement.
En seulement quelques années, le renouement des contacts avec l’Occident transforma profondément la société japonaise. Le shogunat fut forcé de démissionner et l’Empereur fut remis au pouvoir. La restauration Meiji de 1868 initia de nombreuses réformes. Le système de type féodal fut officiellement aboli et de nombreuses institutions occidentales furent adaptées. De nouveaux systèmes juridiques et de gouvernement ainsi que d’importantes réformes économiques, sociales et militaires transformèrent le Japon en une puissance régionale. Ces mutations donnèrent naissance à une forte ambition qui se transforma en guerre contre la Chine (1895) et contre la Russie (1905), dans laquelle le Japon gagna la Corée, Taiwan et d’autres territoires.
L’expansionnisme militaire du Japon au début du XXe siècle, qui débuta avec l’annexion de la Corée (1910), se poursuivit avec l’invasion de la Mandchourie et une seconde guerre sino-japonaise avec le premier bombardement aérien à Shanghai d’une ville et de ses civils (à partir de 1937). Le Japon se construisit un empire colonial étendu jusqu’à l’Asie du Sud-Est qui lui permit de se fournir en matières premières. L’attaque sur Pearl Harbor dans l’archipel d’Hawaii en 1941 l’engagea dans la Seconde Guerre mondiale. Le Japon fut finalement vaincu en 1945 après le largage de deux bombes atomiques, une sur Hiroshima (6 août 1945) et une autre sur Nagasaki (9 août 1945). Il se rendit aux États-Unis et ses alliés le 15 août 1945. Le traité de paix avec la Russie est toujours en négociation, en réglement du problème des îles Kouriles du sud, occupées par cette dernière depuis la fin du conflit.
Le Japon dévasté d’après-guerre, confiné à l’archipel, resta sous la tutelle des États-Unis jusqu’en 1951 (traité de San Francisco). Ceux-ci imposèrent une nouvelle constitution plus démocratique et fournirent une aide financière qui encouragea le renouveau du pays.
L’économie se rétablit rapidement et permit le retour de la prospérité sur les îles.
À la fin des années 1980, le Japon connaît une apogée culturelle et pour le moins économique.
Article détaillé : Forces d'autodéfense japonaises.
Actuellement, bien que sa part soit relativement faible dans les finances de l’État, le Japon a le cinquième plus important budget militaire du monde en chiffres absolus, mais l’importance de ce budget ne fait pas pour autant du Japon une grande puissance militaire. La constitution japonaise interdit en effet le maintien d’une armée, le droit de belligérance et le lancement de toute opération militaire en dehors de ses frontières autre que l’autodéfense. Cependant, des « forces d’autodéfense », un corps militaire professionnel disposant de moyens techniques avancés.
Avec la guerre en Irak en 2003, la Constitution a été aménagée pour pouvoir déployer des troupes hors de son territoire dans le cadre d’opérations à caractère non strictement militaire (reconstruction, aide humanitaire…). De la sorte, le Japon espère pouvoir acquérir un rôle diplomatique plus en rapport avec sa puissance économique.
ประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น (「日本」, Nippon / Nihon, – นิฮง/นิปปอน - ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์?) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลี และสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือ ติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอฮอส์ค เป็นเส้นแบ่งแดน
ด้วยญี่ปุ่นมีเนื้อที่กว่า 377,872 ตารางกิโลเมตร ญี่ปุ่นจึงเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นขนาดอันดับที่ 60 ของโลก และประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่กว่า 3,000 เกาะ เกาะที่ใหญ่ที่สุดก็คือเกาะฮอนชู ฮอกไกโด คิวชู และ ชิโกกุ ตามลำดับ เกาะของญี่ปุ่นส่วนมากจะเป็นหมู่เกาะภูเขา ซึ่งในนั้นมีจำนวนหนึ่งเป็นภูเขาไฟ เช่นภูเขาไฟฟูจิ ภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศ เป็นต้น ประชากรของญี่ปุ่นนั้นมีมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก คือมากกว่า 128 ล้านคน
ก่อนหน้าที่ญี่ปุ่นจะมีความสัมพันธ์กับจีน ก็ได้เรียกตัวเองว่า ยะมะโตะ ส่วน วา (倭) เป็นชื่อที่ชาวจีนยุคแรกใช้เรียกญี่ปุ่นในช่วงยุคสามก๊ก
ประเทศญี่ปุ่นมีเมืองหลวงคือโตเกียว ทั้งประเทศประกอบด้วยเกาะจำนวนมาก โดยมีเกาะใหญ่ ๆ จากทางเหนือไปทางใต้คือ ฮอกไกโด (北海道) ฮอนชู (本州 เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุด) ชิโกกุ (四国) และ คิวชู (九州)
ประวัติศาสตร์
ยุคโบราณ
อารยธรรมแรกที่เริ่มปรากฏขึ้นในดินแดนญี่ปุ่นเริ่มเมื่อประมาณ 10,000 ก่อนคริสตศกราช ซึ่งเรียกกันว่าวัฒนธรรมโจมงมี ลักษณะเป็นวัฒนธรรมแบบยุคหินและสิ้นสุดเมื่อเริ่มทำการเกษตรหลักฐานที่ชัดเจนที่สุดในยุคนี้ก็คือเครื่องปั้นดินเผา ซึ่งเครื่องปั้นดินเผานี้มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองอย่างมาก
ตามที่บันทึกไว้ใน "นิฮงโชะกิ" (日本書紀, Nihonshoki) ซึ่งเป็นหนังสือเล่มแรกของญี่ปุ่น ได้กล่าวไว้ว่าประเทศญี่ปุ่นก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม 660 ปีก่อนคริสตกาล (ตามปฏิทินแบบเก่า) โดย คะมุยะมะโตะอิวะเระฮิโกะ (หรือเรียกตามชื่อรัชกาลว่า จักรพรรดิจินมุ) อย่างไรก็ดี มีความเชื่อว่าจักรพรรดิจินมุไม่ได้เป็นบุคคลจริงหรืออาจจะถูกเพิ่มเข้ามาภายหลัง ในช่วงที่มีการแก้ไขนิฮงโชะกิ
ยุคต่อมาที่ต่อจากยุคโจมงคือ ยุคยาโยอิ เริ่มเมื่อประมาณ 300 ปี ก่อนคริสตศกราช เป็นยุคที่ผู้คนเริ่มเรียนรู้วิธีการปลูกข้าว การตีโลหะ ซึ่งได้รับความรู้มาจากผู้อพยพชาวจีนแผ่นดินใหญ่ บันทึกทางโบราณครั้งแรกที่ปรากฏชื่อเกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่นคือ หนังสือจีนราชวงศ์ฮั่นเมื่อปี พ.ศ. 600 (ค.ศ. 57) ซึ่งชาวญีปุ่นถูกเรียกว่าพวก วา(倭) และประกอบไปด้วยชนเผ่ากว่า 1,000 เผ่า
ตามบันถึกของจีนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 3 อาณาจักรที่ทรงอำนาจมากที่สุดในญี่ปุ่นคืออาณาจักรที่มีชื่อว่า ยะมะไทโคกุ(邪馬台国) ซึ่งปกครองด้วยราชินีฮิมิโกะ(卑弥呼) ซึ่งกษัตรีพระองค์นี้ ได้เคยส่งคณะทูตไปยังประเทศจีนผ่านทางเกาหลีด้วย
คาดกันว่าประเทศญี่ปุ่นเริ่มใช้ชื่อประเทศว่า "นิฮง (日本, Nihon)" ครั้งแรก ในช่วงครึ่งหลังคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพบหลักฐานในหนังสือของสาสน์ของทูตในปี พ.ศ. 1244 (ค.ศ. 701) ความหมายของคำว่า นิฮง มาจากการถือว่า "เป็นต้นกำเนิดของพระอาทิตย์เมื่อมองจากแผ่นดินใหญ่ของจีน" และโดยการทูตแล้ว ในสมัยนั้นถือว่าญี่ปุ่นมีฐานะเท่าเทียมกับแผ่นดินใหญ่
ยุคเริ่มอารยธรรมญี่ปุ่น
ยุคโคฮุง ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึง 7 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มมีการปกครองแบบราชวงศ์ ซึ่งศูนย์กลางการปกครองนั้นอยู่บริเวณเขตคันไซของประเทศ
เมื่อพระพุทธศาสนาได้เผยแพร่จากคาบสมุทรเกาหลี มาสู่หมู่เกาะญี่ปุ่น ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชนชั้นระดับปกครองของญี่ปุ่นในขณะนั้นก็ได้สนับสนุนอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะ เจ้าชายโชโตะกุ พระองค์ได้สนับสนุนพระพุทธศาสนาอย่างมาก ถึงกับสร้างวัดหลายแห่งในประเทศญี่ปุ่น เช่น วัดชิเทนโนจิ(ปัจจุบันตั้งอยู่ในจังหวัดโอซะกะ) วัดตามแบบพุทธศาสนาแห่งแรก วัดโฮลิวจิ(ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดนะระ) เป็นต้น นอกจากนั้นเพื่อให้ประเทศอยู่ด้วยความสงบ พระองค์ได้ทรงประกาศใช้ กฎหมาย 17 มาตรา ซึ่งเป็นกฎหมายญี่ปุ่นฉบับแรกอีกด้วย
ยุคนารา ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 เป็นยุคแรกที่มีการก่อตัวเป็นอาณาจักรที่แข็งแรงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองอย่างมีระบบให้เห็นได้อย่างขัดเจน โดยการนำระบอบการปกครองมาจากจีนแผ่นดินใหญ่ ศูนย์กลางการปกครองในขณะนั้นก็คือ เฮโจวเกียว หรือบริเวณตัวเมืองนะระ(นารา)ในปัจจุบัน หลังจากนั้นได้ย้ายมาที่ เมืองนะงะโอะกะ(ทางตอนใต้ของจังหวัดเกียวโตะ) และ เฮอังเกียว(กลางเมืองเกียวโตะ) ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียว ตามลำดับ เมืองหลวงที่มีระยะเวลานานที่สุดก็คือ เฮอังเกียว ซึ่งได้เป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1,074 ปี ซึ่งเราได้เรียกยุคตั้งแต่สถาปนาเมืองหลวงเฮอังเกียวจนถึงการตั้ง บะกุฮุ หรือ ค่ายรัฐบาล ว่า ยุคเฮอัง
วัดคิงงะกุจิ(แปลได้ว่า วัดตำหนักทอง) ในเมืองเกียวโต ซึ่งอาจจะเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่โด่งดังที่สุดของญี่ปุ่น เป็นที่พำนักของโชกุนในยุคมุโระมะจิ
ระหว่างปี พ.ศ. 1337 (ค.ศ. 794) จนถึง ปี พ.ศ. 1728 ซึ่งเป็น ยุคเฮอัง นั้น ถือได้ว่าเป็นยุคทองของญี่ปุ่น เนื่องจากเป็นยุคสมัยที่เริ่มมีการปรากฏของวัฒนธรรมญี่ปุ่น ซึ่งเกิดจากการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมจีน และของตนเอง สิ่งที่เห็นได้อย่างชัดมากที่สุดคือ การประดิษฐ์ตัวอักษร ฮิรางานะ ซึ่งทำให้เกิดวรรณกรรมที่แต่งโดยตัวอักษรนี้เป็นจำนวนมาก เช่นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11 มุระซะกิ ชิกิบุ สาวใช้ชาววัง ได้แต่งนวนิยายเรื่อง นิทานเกนจิ หรือ ตำนานเกนจิ(源氏物語)ขึ้น ซึ่งเป็นนิยายที่บรรยายเกี่ยวกับการใช้ชีวิต การปกครองของตระกูลฟุจิวะระ นอกจากนั้นนวนิยายเรื่องนี้ยังเป็นนวนิยายที่เก่าแก่รองจากนวนิยายสามอาณาจักร(เกาหลี)ที่ยังมีให้เห็นในโลกอยู่อีกด้วย
[แก้] ยุคศักดินา
ยุคศักดินาญี่ปุ่นเริ่มจากการมีอำนาจการปกครองเหนือชนชั้นปกครองเดิมในญี่ปุ่นซึ่งก็คือชนชั้นราชวงศ์ ซึ่งสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 1728 (ค.ศ. 1185) ตามมาด้วยการพ่ายแพ้ของตระกูลไทระ ที่เสียให้แก่ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ซึ่งหลังจากนั้นเขาได้แต่งตั้งตนเองเป็นโชกุน และสร้าง บะกุฮุ หรือ ค่ายทหารในเมืองคะมะกุระ ยุคนี้เราเรียกว่าเป็น ยุคคะมะกุระ หลังจากการเสียชีวิตของโชกุนโยะริโตะโมะ ตระกูลโฮโจ ได้ก้าวขึ้นมาเป็นตระกูลโชกุนตระกูลใหม่ ซึ่งในยุคนี้ญี่ปุ่นจะต้องต่อสู้กับการุกรานของจักรวรรดิมองโกล
หลังจากการรุกรานของมองโกลครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 1824 (ค.ศ. 1281) ในปี พ.ศ. 1876 (ค.ศ. 1333) คะมะกุระบะกุฮุก็ได้สูญเสียอำนาจให้แก่ อะชิกะงะ ทะกะอุจิ ซึ่งเขาได้ย้ายบะกุฮุไปตั้งไว้ที่กรุงเกียวโต เมืองหลวง และตั้งชื่อว่า มุโระมะจิบะกุฮุ หลังจากความสงบหลายร้อยปี ในช่วงปลายศตวรรษที่ 16 ได้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้นในประเทศญี่ปุ่นเพราะบรรดาขุนนางที่หัวเมืองต่างทำสงครามเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ แผ่นดินญี่ปุ่นจึงเข้าสู่ยุคสงครามกลางเมือง หรือที่รู้จักกันว่า ยุคเซงโงะกุ
สงครามดำรงอยู่หลายสิบปี จนเมื่อปี พ.ศ. 2133 (ค.ศ. 1590) โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ ได้สามารถปราบปรามบ้านเมืองให้สงบลงได้ หลังจากได้รวมรวมบ้านเมืองเสร็จ โทโยโตมิ มีความคิดที่จะบุกคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งเขาได้ทำการบุกถึง 2 ครั้ง จนเมื่อเขาเสียชีวิตลง โตกุงาวะ อิเอยะสึ ได้จัดการรวบรวมประเทศใหม่ และตั้งรัฐบาลใหม่ที่ เมืองเอโดะ ซึ่งรู้จักดีในชื่อยุคว่า ยุคเอโดะ